หมดปัญหาความกังวลใจ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ “ปัสสาวะเล็ด” ที่ทำให้ต้องอยู่ติดบ้าน

39

อาการปัสสาวะเล็ด พบได้มากขึ้นในผู้หญิงวัย 35 ปีขึ้นไป และพบได้บ่อยในผู้หญิงสูงอายุ สำหรับผู้ชายจะพบปัญหาปัสสาวะเล็ดราดได้น้อยกว่า เนื่องจากผู้ชายมีกล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะที่แข็งแรงกว่า และมีต่อมลูกหมากที่ช่วยป้องกันไม่ให้ปัสสาวะเล็ดนี้ได้ จึงทำให้พบภาวะปัสสาวะเล็ดในผู้ชายน้อยกว่าผู้หญิง

ปัสสาวะเล็ด หรือ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ นับว่าเป็นปัญหาที่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวไปแล้ว เพราะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุจะพบได้เป็นส่วนมากในความเป็นจริงแล้วยังมีผู้หญิงวัยทำงานหลายคนที่มีประสบการณ์ปัสสาวะเล็ด ส่งผลในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมาก และมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เพราะการใช้ชีวิตในสังคมเมือง มีความเร่งรีบในการใช้ชีวิต ทำให้ละเลยการเข้าห้องน้ำ อั้นปัสสาวะกันจนเคยชิน รวมถึงดื่มน้ำน้อย ทำให้เกิดภาวะปัสสาวะเล็ด และเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเพียงนิดเดียว

เมื่อมีอาการภาวะปัสสาวะเล็ดขึ้น จะส่งผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจเป็นอย่างมาก หลายคนรู้สึกอับอายจนทำให้ไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสังคม บางคนต้องตื่นมาเข้าห้องน้ำกลางดึกทำให้พักผ่อนไม่เพียงพอ กลางวันก็ทำงานได้ไม่เต็มที่เพราะต้องลุกไปเข้าห้องน้ำบ่อยๆ เมื่อจำเป็นต้องเดินทางก็มีความกังวลเรื่องเข้าห้องน้ำ  ปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหาที่บั่นทอนคุณภาพชีวิต ทำให้ชีวิตแย่ลง ทำให้มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับสังคม การใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ รวมถึงปัญหาในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์  ทำให้เกิดภาวะเครียดสะสม มีความกังวล เกิดเป็นปมด้อย และอาจทำให้มีอาการของโรคซึมเศร้าตามมาได้

shutterstock 1145413541

การรักษาภาวะปัสสาวะเล็ด

  1. ฝึกขมิบเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน การขมิบกระชับช่องคลอด เป็นการบริหารมดลูกและกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานให้ช่องคลอดกระชับแข็งแรง ซึ่งเป็นวิธีรักษาปัสสาวะเล็ดที่สามารถทำได้เป็นประจำทุกวัน  การ ขมิบ กระชับช่องคลอดจะช่วยเรื่องเซ็กส์ และ ความสัมพันธ์ในชีวิตคู่ให้ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยควบคุมไม่ให้ปัสสาวะเล็ดขณะไอหรือจามได้อีกด้วย
  2. การใช้ยา ถือเป็นการรักษาที่ได้ผลดี ในกลุ่มอาการที่ผู้ป่วยมีการปัสสาวะเล็ดและกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือมีอาการของกระเพาะปัสสาวะที่มีการบีบตัวไวกว่าปกติ ยาที่มีประสิทธิภาพในการักษาความผิดปกตินี้ในปัจจุบันมีหลายชนิด กลไกการออกฤทธิ์ของยา จะเข้าไปยับยั้งการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ลดอาการปัสสาวะบ่อย ลดอาการของการมีปัสสาวะเล็ดราด ทำให้กระเพาะปัสสาวะมีขนาดโตทำให้สามารถเก็บกักปัสสาวะได้มากขึ้น
  3. ใช้นวัตกรรมใหม่ที่ช่วย รักษาอาการของช่องคลอด อาการมดลูกหย่อน หรือ ต่ำ เนื่องจากช่องคลอดไม่กระชับกล้ามเนื้อหูรูดไม่แข็งแรง  ทำให้เกิดอาการ ปัสสาวะเล็ด เกิดขึ้นได้  การรักษาอาการปัสสาวะเล็ดนี้สามารถรักษาได้ด้วยเทคโนโลยีส่งพลังงานคลื่นวิทยุ ไปช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจน และ อิลาสติน ให้ขึ้นมาใหม่ ส่งผลให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และ ผนังช่องคลอดแข็งแรง กระชับขึ้นได้ ทั้งภายในและภายนอกโดยไม่ต้องผ่าตัด

ผลที่ได้จากการรักษา ด้วยเทคโนโลยีส่งพลังงานคลื่นวิทยุ

  • ช่วยให้บริเวณภายนอกจุดซ่อนเร้น – กระชับผิว ลดริ้วรอยบริเวณรอบ ๆ ให้เรียบเนียนกระชับขึ้น
  • ผนังของช่องคลอดหดกระชับ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น
  • ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบประเส้นประสาท และเพิ่มการไหลเวียนของเส้นเลือดที่มาหล่อเลี้ยงบริเวณจุดซ่อนเร้นให้ทำงานสมบูรณ์ขึ้น ลดการเกิดปัสสาวะเล็ด
  • ช่วยให้ระบบการทำงานของต่อมต่าง ๆ ทำงานดีขึ้น สร้างสารคัดหลั่งที่มาหล่อเลี้ยง เพิ่มความชุ่มชื้นภายในช่องคลอด
  • ช่วยกำจัดเชื้อโรคต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในช่องคลอด รวมถึงช่วยแก้ปัญหาปัสสาวะเล็ดได้ด้วย

ภาวะปัสสาวะเล็ดราด หรือ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ คือ การมีปัสสาวะรั่วไหลโดยไม่ตั้งใจ และมากจนทำให้เป็นปัญหาสุขภาพได้ ดังนั้นจึงควรหมั่นดูแลรักษาอวัยวะในให้เป็นปกติ เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพ ที่จะส่งผลให้เกิดภาวะปัสสาวะเล็ดออกมาสร้างปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวัน และ การเข้าสังคมดังนั้นจึงควรดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่ายให้เป็นปกติอยู่เสมอ ซึ่งสามารถทำได้โดยการควบคุมน้ำหนัก รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ถูกสุขลักษณะ  ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย รวมทั้งให้ความสำคัญต่อเรื่องสุขภาพอนามัยให้ดี อย่าปล่อยให้อาการปัสสาวะเล็ดต้องเป็นปัญหาเรื่องสุขภาพ ถ้ามีอาการผิดปกติต้องรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของตัวเรานะค่ะ

บอกลา!!ช่องคลอดไม่กระชับ“ปัสสาวะเล็ด” ปัญหาใหญ่ที่กวนใจของผู้หญิง..

37

เมื่อร่างกายของผู้หญิงต้องพบกับปัญหาความเสื่อมโทรมภายในไม่กระชับ ทำให้มีโอกาส “ปัสสาวะเล็ด” เป็นภาวะที่ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลง ไม่สามารถดำรงชีวิตเช่นปกติได้ ไม่สามารถเดินทาง หรือทำงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ บางรายต้องออกจากงาน หรือขาดความก้าวหน้าในการทำงานเพราะอาการปัสสาวะเล็ด บางรายพบภาวะมดลูกหย่อน หรือมีการผายลมโดยไม่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความกังวลและอับอายเป็นอย่างมาก

เมื่อมีอาการภาวะปัสสาวะเล็ดขึ้น จะส่งผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจเป็นอย่างมากหลายคนรู้สึกอายจนทำให้ไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสังคม บางคนต้องตื่นมาเข้าห้องน้ำกลางดึกทำให้พักผ่อนไม่เพียงพอ กลางวันก็ทำงานได้ไม่เต็มที่เพราะต้องลุกไปเข้าห้องน้ำบ่อยๆ เมื่อจำเป็นต้องเดินทางก็มีความกังวลเรื่องเข้าห้องน้ำ  ปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหาที่บั่นทอนคุณภาพชีวิต ทำให้ชีวิตแย่ลง ทำให้มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับสังคม การใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ รวมถึงปัญหาในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ทำให้เกิดภาวะเครียดสะสมมีความกังวล เกิดเป็นปมด้อย และอาจทำให้มีอาการของโรคซึมเศร้าตามมาได้

ภาวะปัสสาวะเล็ดราด หรือ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ คือ การมีปัสสาวะรั่วไหลโดยไม่ตั้งใจ และมากพอจนทำให้เป็นปัญหาสุขภาพดังนั้น จึงควรดูแลรักษาอวัยวะในให้เป็นปกติ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะปัสสาวะเล็ดซึ่งสามารถทำได้โดยการควบคุมน้ำหนัก รับประทานอาหารที่มีประโยชน์  ถูกสุขลักษณะ รับประทานผักผลไม้ ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

38

วิธีการดูแลร่างกายเมื่อพบปัญหาความเสื่อมโทรมภายในช่องคลอดไม่กระชับ

  1. ฝึกขมิบเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานการขมิบกระชับช่องคลอดเป็นการบริหารมดลูกและกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานให้ช่องคลอดกระชับแข็งแรง ซึ่งสามารถทำได้เป็นประจำทุกวันการ ขมิบ กระชับช่องคลอดจะช่วยเรื่องเซ็กส์ และ ความสัมพันธ์ในชีวิตคู่ให้ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยควบคุมไม่ให้ปัสสาวะเล็ดขณะไอหรือจามได้อีกด้วย
  2. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานแข็งแรง จะช่วยป้องกันปัญหามดลูกต่ำและมดลูกหย่อนได้
  3. พฤติกรรมบำบัด โดยการปรับสภาพของน้ำดื่ม เช่นลดปริมาณการดื่ม หรือดื่มตามเวลา และพยายามควบคุมการถ่ายปัสสาวะ ให้ถ่ายเป็นเวลาเพื่อลดอาการปัสสาวะเล็ด
  4. การใช้ยา ถือเป็นการรักษาที่ได้ผลดี ในกลุ่มอาการที่ผู้ป่วยมีการปัสสาวะเล็ดและกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือมีอาการของกระเพาะปัสสาวะที่มีการบีบตัวไวกว่าปกติ ยาที่มีประสิทธิภาพในการักษาความผิดปกตินี้ในปัจจุบันมีหลายชนิด กลไกการออกฤทธิ์ของยา จะเข้าไปยับยั้งการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ลดอาการปัสสาวะบ่อย ลดอาการของการมีปัสสาวะเล็ดราด ทำให้กระเพาะปัสสาวะมีขนาดโตทำให้สามารถเก็บกักปัสสาวะได้มากขึ้น
  5. ใช้เทคโนโลยีช่วยรักษา การรักษาอาการปัสสาวะเล็ดนี้สามารถรักษาได้ด้วยเทคโนโลยีส่งพลังงานคลื่นวิทยุซึ่งนับเป็นรูปแบบหนึ่งของการทำรีแพร์ ไปช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจน และ อิลาสติน ให้ขึ้นมาใหม่ ส่งผลให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และ ผนังช่องคลอดแข็งแรง กระชับขึ้นได้ ทั้งภายในและภายนอกโดยไม่ต้องผ่าตัด ลดอาการปัสสาวะเล็ดได้

สาวๆ ที่ต้องการให้ช่องคลอดฟิตกระชับและสุขภาพช่องคลอดดีจากภายในสู่ภายนอก ลดความเสี่ยงของการปัสสาวะเล็ด ต้องดูแลรักษาสุขภาพ หมั่นตรวจเช็คร่างกาย หากพบความผิดปกติให้รีบปรึกษาแพทย์ ทำการรักษาอย่าปล่อยให้มีอาการไม่พึงประสงค์ ทำความสะอาดช่องคลอดให้ถูกวิธี โดยการเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลัง อาบน้ำชำระล้างร่างกายให้สะอาดทุกวัน ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตจะช่วยทำให้ห่างไกลจากภาวะ“ปัสสาวะเล็ด” และทำให้การใช้ชีวิตในทุกๆ วันได้อย่างมั่นใจรับรองว่ามีความฟิต กระชับ ลืมหย่อนได้แน่นอน

อาการ“ปัสสาวะเล็ด” ปัญหากวนใจ ที่ใครไม่เป็นไม่รู้ถึงความลำบาก..อย่างเรา !!

36

อาการ“ปัสสาวะเล็ด” ปัญหากวนใจ ที่ใครไม่เป็นไม่รู้ถึงความลำบาก..อย่างเรา !!

การขับถ่ายปัสสาวะ คือการขับของเสียออกจากร่างกายซึ่งเป็นเรื่องปกติของกระบวนการทำงานของร่างกายคนเรา แต่เมื่อมีความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะทำให้ส่งปัญหาต่อเนื่องถึงสุขภาพ โดยทั่วไปอาการปัสสาวะเล็ด รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน จนกระทั่งมีปัญหาที่รุนแรงตามมาเนื่องจากต้องเข้าห้องน้ำบ่อยในเวลาค่ำคืน ทำให้อดหลับ อดนอนเพราะต้องตื่นตอนกลางคืนบ่อยครั้ง ผู้ที่ประสบปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ และปัสสาวะเล็ดราดหรือมีปัญหาปวดปัสสาวะที่รุนแรงนั้นมีจำนวนไม่มากนักที่มีความรู้ความเข้าใจ และทราบว่าปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ อาการปัสสาวะเล็ดนี้สามารถแก้ไขได้ อาจจะทำการรักษาจนหายขาดหรือทำให้อาการดีขึ้น จนกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ แต่ก็ยังมีอีกจำนวนไม่น้อยที่ไม่รู้ ยังคงต้องทรมานการจากนี้อยู่

ภาวะปกติการทำงาน ของกระเพาะปัสสาวะ

ในภาวะปกติของระบบทางเดินปัสสาวะระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งมีลักษณะคล้ายถั่ว วางอยู่บริเวณเอว ทำหน้าที่ในการกลั่นกรองของเสีย และกลั่นออกมาเป็นปัสสาวะซึ่งประกอบด้วยน้ำ ของเสียต่างๆ เกลือแร่ ของเสียเหล่านี้จะขับผ่านลงมาทางท่อปัสสาวะ ลงมาถึงกระเพาะปัสสาวะ และเก็บกักในกระเพาะปัสสาวะจนกระทั่งเต็ม จึงมีการขับถ่ายออกผ่านทางท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะมีลักษณะเป็นถุงกล้ามเนื้อมีลักษณะเฉพาะที่สามารถขยายขนาดได้ เมื่อมีน้ำปัสสาวะเพิ่มขึ้นโดยการขยายตัวของกระเพาะปัสสาวะนี้จะคงสภาพให้ความดันภายในกระเพาะปัสสาวะต่ำอยู่ตลอดเวลา และในระหว่างที่กระเพาะปัสสาวะทำหน้าที่ในการเก็บกักน้ำปัสสาวะนี้กลไกหูรูดที่อยู่ถัดจากกระเพาะปัสสาวะลงมาจะปิดสนิท ป้องกันไม่ให้น้ำปัสสาวะเล็ดไหลออกมาเมื่อเริ่มมีความรู้สึกปวดปัสสาวะ เมื่อมีปัสสาวะประมาณครึ่งหนึ่งของความจุในกระเพาะปัสสาวะ จะรู้สึกหน่วงๆ บริเวณท้องน้อย ไม่ใช่อาการปวดที่ต้องการไปถ่ายปัสสาวะ เราจะมีความรู้สึกต้องการถ่ายปัสสาวะเมื่อมีน้ำปัสสาวะเต็มแล้ว แต่หากเรายังไม่พร้อมที่จะถ่ายปัสสาวะ สมองจะสั่งการลงมากำกับยับยั้งไม่ให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัว รวมถึงหูรูดปิดตัวให้แน่นหนาขึ้นเพื่อไม่ให้ปัสสาวะเล็ด เราจะสามารถกลั้นปัสสาวะต่อได้เพียงแต่มีอาการปวดปัสสาวะมากขึ้นเท่านั้น

หากเมื่อมีความพร้อมที่จะถ่ายปัสสาวะ เมื่อกระเพาะปัสสาวะเต็ม ระบบการรับรู้ของประสาทจะถูกส่งขึ้นไปจากกระเพาะปัสสาวะจนถึงสมอง และกระแสการรับรู้ของระบบประสาทจะส่งกลับลงมาผ่านไขสันหลัง ผ่านระบบประสาทส่งผลให้มีการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะพร้อมกับการคลายตัวของหูรูด  ทำให้มีปัสสาวะไหลออกมา และโดยปกติการขับถ่ายปัสสาวะจะต้องหมด ไม่มีปัสสาวะตกค้าง ดังนั้นหากระบบทางเดินปัสสาวะไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ กระเพาะปัสสาวะมีการบีบตัวก่อนถึงเวลาสมควร หรือบีบตัวนอกเหนือจากระบบประสาทสั่งการ หรือกลไกของหูรูดไม่แข็งแรงพอ ก็จะส่งผลให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมา และเมื่อมีการขับถ่ายปัสสาวะออกมาไม่หมดมีปัสสาวะตกค้างก็ทำให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาได้

สาเหตุของความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะและปัสสาวะเล็ด

การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่และความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ เป็นเพียงอาการเท่านั้น แต่อาการที่ชี้บ่งถึงความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะเล็ด อาจมาจากโรคอื่นๆที่เป็นอยู่ภายในร่างกายซึ่งเกิดจากกระเพาะมีการบีบตัวที่ผิดปกติ ซึ่งส่วนมากจะมีการบีบตัวที่ไวกว่าปกติ บีบตัวอย่างไม่เป็นเวลา ทำให้มีอาการปวดปัสสาวะเร็วกว่าที่ควร และมีปัสสาวะเล็ดราดออกมา ไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุมักจะเกิดจากโรคทางระบบประสาท โรคทางสมอง ไขสันหลัง โรคที่เกิดตามวัย ความเสื่อมของร่างกาย โรคเบาหวาน ทั้งที่เกิดเองหรือเกิดจากอุบัติเหตุ นอกจากนั้นอาจจะเกิดจากโรคบริเวณกระเพาะปัสสาวะเอง ที่พบบ่อยได้แก่การอักเสบติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่งผลให้เกิดปัสสาวะตกค้างในกระเพาะปัสสาวะ และจะไหลรินออกมาเมื่อมีปัสสาวะค้างมากจนเกินกว่าที่กระเพาะปัสสาวะรับได้ ทำให้เกิดอาการปัสสาวะเล็ดได้ค่ะ

shutterstock 763880281

วิธีการรักษา อาการปัสสาวะเล็ด

การขมิบเพื่อกระชับช่องคลอด

เพื่อการบริหารช่วงล่าง  หากมีอาการปัสสาวะเล็ดในระยะเริ่มแรก ควรทำการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานด้วยการขมิบช่องคลอด  ก่อนการขมิบต้องปัสสาวะให้เรียบร้อย จากนั้นนอนหงาย  แล้วขมิบไว้  5  วินาที  จากนั้นปล่อย และทำซ้ำติดต่อกัน 4-5  ครั้ง  การดูแลเบื้องต้นนี้จะทำให้อาการปัสสาวะเล็ดดีขึ้น แต่ต้องใช้ระยะเวลา และการทำให้สม่ำเสมอ

การออกกำลังกาย

ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานแข็งแรง จะช่วยป้องกันปัญหามดลูกต่ำและมดลูกหย่อนได้อีกทัั้งช่วยรักษาอาการปัสสาวะเล็ดได้

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

พฤติกรรมบำบัด เป็นการรักษาอาการปัสสาวะเล็ดที่ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของตัวเอง โดยการปรับสภาพของ น้ำดื่ม เช่นลดปริมาณการดื่ม หรือดื่มตามเวลา และพยายามควบคุมการถ่ายปัสสาวะ ให้ถ่ายเป็นเวลา

นวัตกรรมพลังงานคลื่นวิทยุ

เป็นการใช้เทคโนโลยีในการรักษาปัสสาวะเล็ด ด้วยนวัตกรรมพลังงานคลื่นวิทยุ เทคโนโลยีนี้จะไปช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจน และ อิลาสตินขึ้นมาใหม่ เพื่อรักษาสุขภาพช่องคลอดโดยไม่ต้องผ่าตัด ทำให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และ ผนังช่องคลอดแข็งแรง กระชับตึงขึ้น ทั้งบริเวณภายนอกและภายในช่องคลอด

สาเหตุของอาการปัสสาวะเล็ดนั้นเกิดจากกลไกหูรูด ส่วนมากเกิดจากหูรูดที่หย่อนกว่าปกติ ทำให้ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ในขณะที่มีการเก็บกักปัสสาวะ มีปัสสาวะเล็ดไหลออกมา หรืออาจจะไหลออกมาเมื่อมีการเพิ่มแรงดันจากในช่องท้อง เช่น เมื่อไอ จาม หัวเราะ จะมีปัสสาวะเล็ดออกมา ซึ่งพบได้บ่อยในผู้หญิง นอกจากนั้นการที่หูรูดทำงานมากกว่าปกติ ทำให้ถ่ายปัสสาวะไม่ออกถ่ายปัสสาวะไม่หมดเมื่อมีปัสสาวะตกค้างในกระเพาะปัสสาวะมากก็มีปัสสาวะเล็ดไหลออกมา ดังนั้น การรักษาสุขภาพช่องคลอด เป็นเรื่องที่สำคัญมาก อย่าให้อาการปัสสาวะเล็ดมาสร้างปัญหาให้กับชีวิต เมื่อเริ่มมีอาการให้ทำการตรวจเช็คร่างกายตรวจหาสาเหตุของอาการ ทำการรักษาโดยเร็ว เพื่อการใช้ชีวิตได้เป็นปกติ คลายความกังวล ทำมีความมั่นใจในการใช้ชีวิตมากขึ้น

กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ อาการต้องสงสัย “ปัสสาวะเล็ด” หากรู้ไวรักษาได้ทัน

31 1

อาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ เป็นปัญหาที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณผู้หญิงอยู่ไม่น้อย  ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ ภาวะปัสสาวะเล็ด คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียการควบคุมของกระเพาะปัสสาวะและไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ ปัจจุบันผู้หญิงกำลังเผชิญกับปัญหานี้ อาการปัสสาวะเล็ดสร้างความลำบากและความกังวลใจในชีวิตประจำวันมากทีเดียว

ภาวะปัสสาวะเล็ด

เป็นอาการของผู้ที่อยู่ในภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ จะไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ น้ำปัสสาวะมักจะซึมหรือปัสสาวะเล็ดออกมาได้ตลอดเวลา ในระหว่างการไอ จาม หัวเราะ หรือวิ่ง บางครั้งน้ำปัสสาวะเล็ดไหลออกมาสำหรับบางคนระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ก็ไหลออกมาด้วยก็มี

สาเหตุของอาการ

  • สาเหตุหลักของการเกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ ปัสสาวะเล็ดนั้น มาจากการหย่อนคล้อยของกล้ามเนื้อภายในช่องคลอด และรอบๆกระเพาะปัสสาวะทำให้ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้
  • กล้ามเนื้อหูรูดที่ท่อปัสสาวะไม่สามารถควบคุมการไหลผ่านของของเหลวทำให้เก็บกักปัสสาวะไม่อยู่ และเกิดจากผนังกล้ามเนื้อภายในกระเพาะปัสสาวะบีบตัวเพื่อไล่ของเหลวออกมา
  • การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะเล็ดอาจเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่กระเพาะปัสสาวะบีบตัวกระทันหัน หรือเมื่อกล้ามเนื้อหูรูดไม่แข็งแรงพอที่จะบีบตัว เพื่อปิดไม่ให้น้ำปัสสาวะไหลผ่านท่อปัสสาวะ จึงทำให้ปัสสาวะเล็ดลอดออกมา
shutterstock 1106316761

สาเหตุของการเกิดปัสสาวะเล็ด

การตั้งครรภ์

ผู้หญิงที่กำลังตั้งครรภ์จะประสบกับปัญหาการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ เพราะเด็กที่อยู่ในครรภ์จะดันกระเพาะปัสสาวะทำให้ท่อปัสสาวะบีบตัว จึงทำให้รู้สึกปวดปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะเล็ดออกมา

หลังการคลอดบุตร

 ผู้หญิงหลังการคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ มักจะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่หลังจากการคลอดบุตรภายใน 6 เดือน เพราะการคลอดบุตรทำให้อุ้งเชิงกรานและเส้นประสาทรอบๆกระเพาะปัสสาวะอ่อนตัวไม่สามาถบีบตัวได้ดีเท่าที่ควรจึงทำให้ปัสสาวะเล็ดออกมาได้

ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน

ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนเนื้อเยื่อบริเวณท่อปัสสาวะรวมไปถึงอุ้งเชิงกรานจะไม่แข็งแรงหรือสูญเสียความยืดหยุ่น และไม่สามารถควบคุมการบีบตัวได้ดี เมื่อถึงวัยหมดประจำเดือน จึงทำให้ปัสสาวะเล็ดออกมาได้

การติดเชื้อในกระเพราะปัสสาวะ

การติดเชื้อของกระเพาะหรือท่อปัสสาวะทำให้ร่างกายไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้ตามปกติ  ทำให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะเล็ดได้เช่นกัน

ผู้ที่อยู่ในภาวะโรคอ้วน

ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานหรือมีไขมันส่วนเกินมากมักรู้สึกปวดปัสสาวะบ่อย เพราะไขมันส่วนเกิน จะเข้าไปกดทับบริเวณท้องน้อยเพิ่มแรงกดทับลงบนกระเพาะปัสสาวะ ทำให้มีการบีบตัวส่งผลให้น้ำปัสสาวะเล็ดไหลออกมาได้

เครื่องดื่มคาเฟอีน

การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ และน้ำอัดลม จะทำให้กระเพาะปัสสาวะเกิดการผลิตน้ำปัสสาวะออกมามากเพื่อขับสารคาเฟอีนให้ออกจากร่างกาย ควรหลีกเลี่ยงคาเฟอีนเพื่อป้องกันอาการปัสสาวะเล็ด

เส้นประสาทถูกทำลาย

การขับถ่ายปัสสาวะนั้นเป็นไปโดยธรรมชาติ เมื่อกระเพาะปัสสาวะมีของเหลวมากจำเป็นต้องขับของเสียออกมา แต่หากเส้นประสาทถูกทำลายไม่สามารถรับรู้ได้ เมื่อน้ำปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น จะไม่รู้สึกปวดปัสสาวะ ไม่บีบตัวเพื่อขับของเหลวออก หรือเส้นประสาทไม่สั่งการให้กล้ามเนื้อหูรูดบีบตัว ทำให้น้ำปัสสาวะเล็ดออกมาจากกระเพาะปัสสาวะได้

การรักษาอาการปัสสาวะเล็ด

ปัจจุบันนี้มีนวัตกรรมใหม่ที่ช่วย รักษาปัสสาวะเล็ด รักษาอาการของช่องคลอด อาการมดลูกหย่อน หรือ ต่ำ เนื่องจากช่องคลอดไม่กระชับกล้ามเนื้อหูรูดไม่แข็งแรง  ทำให้เกิดอาการปัสสาวะเล็ดขึ้นได้  การรักษาอาการปัสสาวะเล็ดที่ว่านี้สามารถทำได้ด้วยเทคโนโลยีส่งพลังงานคลื่นวิทยุซึ่งนับเป็นทางเลือกหนึ่งของการทำรีแพร์ ไปช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจน และ อิลาสติน ให้ขึ้นมาใหม่ ส่งผลให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และ ผนังช่องคลอดแข็งแรง กระชับขึ้นได้ ทั้งภายในและภายนอกโดยไม่ต้องผ่าตัด

ผลการรักษาด้วยเทคโนโลยีส่งพลังงานคลื่นวิทยุ

  • ช่วยให้บริเวณภายนอกจุดซ่อนเร้น – กระชับ ลดริ้วรอยบริเวณรอบ ๆ ให้เรียบเนียนกระชับขึ้น
  • ผนังช่องคลอดหดกระชับ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น
  • ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท และเพิ่มการไหลเวียนของเส้นเลือดที่มาหล่อเลี้ยงบริเวณจุดซ่อนเร้นให้ทำงานสมบูรณ์ขึ้น แก้อาการปัสสาวะเล็ด
  • ช่วยให้ระบบการทำงานของต่อมต่าง ๆ ทำงานดีขึ้น อีกทั้งสร้างสารคัดหลั่งที่มาหล่อเลี้ยง เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับช่องคลอด
  • ช่วยกำจักเชื้อโรคต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกช่องคลอด รวมถึงช่วยแก้ปัญหาภาวะปัสสาวะเล็ด

เมื่อทราบถึงลักษณะและสาเหตุอาการภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ ภาวะปัสสาวะเล็ด ต้องตรวจเช็คตัวเองบ้างว่าเข้าข่ายอยู่ในภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่หรือเปล่า หากมีอาการควรพบแพทย์เพื่อให้การรักษาโดยเร็วที่สุด เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุที่แท้จริง  เพราะอาการเล็กน้อยอาจส่งผล ระยะยาวรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันของเราได้ หากเป็นในขั้นที่ไม่รุนแรง ภาวะปัสสาวะเล็ดนี้อาจหายไปเอง แต่ในกรณีที่มีอาการรุนแรงมาก ต้องเข้าพบแพทย์เพื่อทำการรักษา อย่าได้ชล่าใจเด็ดขาด รู้ไว รักษาไว หายได้ไวนะค่ะ

อย่า!!มองข้ามอาการ ปัสสาวะเล็ด..ภัยเงียบ ที่ไม่ใช่เรื่องเล็กของผู้หญิง

ปัสสาวะเล็ด

อย่า!!มองข้ามอาการ ปัสสาวะเล็ด..ภัยเงียบ ที่ไม่ใช่เรื่องเล็กของผู้หญิง

อาการปัสสาวะเล็ดสมารถเกิดขึ้นกับทุกเพศ ทุกวัย ทำให้บางคนขาดความมั่นใจไปเลย..  มันสร้างปัญหาให้เราอย่างคาดไม่ถึงเลยนะ  ..ขอบอก..  เพราะบางที แค่ไอ และ จามแรงๆ  ก็ทำให้ปัสสาวะเล็ดออกมาแล้ว ทำให้มีความกังวล ขาดความมั่นใจ และทำให้กลายเป็นปัญหาในชีวิตไปเลยก็ว่าได้ ..

อาการของการเกิดปัสสาวะเล็ด มีหลายสาเหตุ หลายปัจจัยที่ทำให้เกิด สำหรับคนที่ต้องเผชิญกับปัญหาปัสสาวะเล็ด คงมีความกังวล และ เครียดอยู่ไม่น้อย เรามาทำความรู้จัก อาการของโรคปัสสาวะเล็ดกันจะได้เข้าใจและรับมือได้ทันเมื่อเกิดขึ้นกับตัวเอง

อาการปัสสาวะเล็ด

ภาวะปัสสาวะเล็ด คือการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ การที่มีปัสสาวะไหลออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ โดยเฉพาะในขณะที่ทำกิจกรรมที่ต้องออกแรง เช่น ไอ จาม การยกของหนัก หัวเราะดังๆ หรือการออกกำลังกาย ก็อาจมีปัสสาวะเล็ดออกมาได้ ทั้งนี้พบว่าประชากรเพศหญิงประมาณ 10-20 % จะประสบปัญหาปัสสาวะเล็ด และก็มีข้อมูลว่าพบภาวะปัสสาวะเล็ดในผู้ชายได้ด้วยเช่นกัน แต่อยู่ในอัตราที่น้อยกว่าผู้หญิง

อาการปัสสาวะเล็ดกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย.. สาเหตุของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่เกิดได้ทั้งความผิดปกติของระบบควบคุมประสาทในร่างกายหรือแม้แต่พฤติกรรมของเราเองในการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งล้วนทำให้เกิดภาวะปัสสาวะเล็ดขึ้นได้ทั้งนั้น สาเหตุการเกิดจึงจำแนกออกเป็นแต่ละประเภทดังนี้

จากการตั้งครรภ์ และ การคลอดบุตร

โดยเฉพาะจำนวนครั้งของการคลอดบุตร จะมีความเสี่ยงมากขึ้นไม่จำเป็นว่าจะคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ หรือการผ่าคลอด ล้วนมีความเสียงด้วยกันทั้งนั้น เพราะการตั้งครรภ์จะส่งผงให้อวัยวะในอุ้งเชิงกรานต้องรับน้ำหนักของเด็กตั้งแต่แรกอยู่แล้ว อาจส่งผลให้เกิดภาวะปัสสาวะเล็ดออกมาได้

จากอายุที่เพิ่มขึ้น

พบในสตรีวัยหมดประจำเดือน หรือวัยทองที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป เกิดขึ้นได้ทั้งกรณีไอ และ จาม  จะไม่สามารถกลั้น และควบคุมการไหลของปัสสาวะไม่ได้ ทำให้มีปัสสาวะเล็ดไหลออกมา

จากความอ้วน หรือ โรคอ้วน

ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานหรือมีไขมันส่วนเกินมากมักรู้สึกปวดปัสสาวะบ่อย เพราะไขมันส่วนเกิน จะเข้าไปกดทับบริเวณท้องน้อยเพิ่มแรงกดทับลงบนกระเพาะปัสสาวะ ทำให้มีการบีบตัวส่งผลให้น้ำปัสสาวะไหลเล็ดออกมาได้

ผู้หญิงที่ตัดมดลูก และหมดประจำเดือน

เนื่องจากผลของการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน มีผลทำให้เนื้อเยื่อที่พยุงระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะในอุ้งเชิงกรานฝ่อลง ส่งผลทำให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานไม่แข็งแรง และก่อให้เกิดภาวะปัสสาวะเล็ดได้

การติดเชื้อในกระเพราะปัสสาวะ

 การติดเชื้อของกระเพาะหรือท่อปัสสาวะทำให้ร่างกายไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้ตามปกติ  ทำให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะเล็ดได้เช่นกัน

shutterstock 272199491

วิธีการรักษา อาการปัสสาวะเล็ด

 การขมิบเพื่อกระชับช่องคลอ

เพื่อการบริหารช่วงล่าง  หากมีอาการปัสสาวะเล็ดในระยะเริ่มแรก ควรทำการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานด้วยการขมิบช่องคลอด  ก่อนการขมิบต้องปัสสาวะให้เรียบร้อย จากนั้นนอนหงาย  แล้วขมิบไว้  5  วินาที  จากนั้นปล่อย และทำซ้ำติดต่อกัน 4-5  ครั้ง  การดูแลเบื้องต้นนี้จะทำให้อาการปัสสาวะเล็ดดีขึ้น แต่ต้องใช้ระยะเวลา และการทำให้สม่ำเสมอ

นวัตกรรมพลังงานคลื่นวิทยุ

ใช้เทคโนโลยีในการรักษาอาการปัสสาวะเล็ด ด้วยนวัตกรรมพลังงานคลื่นวิทยุ เทคโนโลยีนี้ จะไปช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจน และ อิลาสตินขึ้นมาใหม่ เพื่อรักษาสุขภาพช่องคลอดโดยไม่ต้องผ่าตัด ทำให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และ ผนังช่องคลอดแข็งแรง กระชับตึงขึ้น ทั้งบริเวณภายนอกและภายในช่องคลอด และยังช่วยแก้ไขอาการปัสสาวะเล็ดได้อีกด้วย

สาเหตุของอาการปัสสาวะเล็ดนั้นเกิดจากกลไกหูรูด ส่วนมากเกิดจากหูรูดที่หย่อนกว่าปกติ ทำให้ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ในขณะที่มีการเก็บกักปัสสาวะ มีปัสสาวะเล็ดไหลออกมา หรืออาจจะไหลออกมา เมื่อมีการเพิ่มแรงดันจากในช่องท้อง เช่นเมื่อไอ จาม หัวเราะ มีปัสสาวะเล็ดออกมา ซึ่งพบได้บ่อยในผู้หญิง นอกจากนั้นการที่หูรูดทำงานมากกว่าปกติ ทำให้ถ่ายปัสสาวะไม่ออกถ่ายปัสสาวะไม่หมดเมื่อมีปัสสาวะตกค้างในกระเพาะปัสสาวะมากก็มีปัสสาวะเล็ดไหลออกมา การดูแลรักษาสุขภาพช่องคลอด ตั้งแต่มีอาการเริ่มแรกนั้นสำคัญมาก อย่าให้อาการปัสสาวะเล็ดมาสร้างปัญหาให้กับชีวิต ใส่ใจดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มมีอาการ เพื่อให้มีสุขภาพช่องคลอดที่ดี และทวงคืนความสุขของคุณผู้หญิงให้กลับมาอีกครั้ง